วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

รถAGV

  รถ AGV คืออะไร
รถ AGV (Auto Guiding Vehicle) หรือเรียกกันว่า รถขนส่ง อัตโนมัติ มีระบบควบคุมเส้นทาง และนำทางการขับเคลื่อนด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์ เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้ด้วยการประมวลผลควบคุมการทำงาน โดยไมโคร-คอนโทรลเลอร์

มูลเหตุจูงใจ
1. เพื่อลดการเข้า-ออกของพนักงานขับรถขนส่ง
2. เพื่อลดความล่าช้าจากการขนส่ง Part เนื่องจากการจราจรที่ติดขัด
3. เพื่อลดความความเมื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานขนส่ง
4. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถขนส่งที่มีจำนวนมาก
  แนวคิดในกำรทำ Kaizen
ได้นไำแนวคิดจากรถไฟฟ้าที่สามารถเคลื่อนที่ตามเส้นทางที่กำหนด และสามารถหยุดเมื่อเราต้องการให้หยุด หรือเมื่อถึงสถานีแบบอัตโนมัติ

วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
      ในอดีตเมื่อมนุษย์มีการพัฒนาด้านภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน การพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันก็ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเป็นลำดับ จากการติดต่อสื่อสารกันในระหว่างกลุ่มชุมชนเดียวกัน ก็มีการติดต่อสื่อสารข้ามกลุ่มข้ามชุมชน มีการพัฒนาวิธีการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วขึ้น ดังที่นักเรียนอาจจะเคยทราบมาบ้างแล้ว เช่น การสื่อสารโดยใช้นกพิราบ การใช้ม้าเร็วในการติดต่อสื่อสาร การใช้สัญญาณเสียงด้วยการตีกลอง หรือตีเกราะเคาะไม้ การส่งสัญญาณควันไฟ เป็นต้น จากนั้นก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีในการสื่อสารเพื่อช่วยให้มนุษย์มีการติดต่อ สื่อสารระหว่างกันได้ตามความต้องกา
องค์ประกอบหลักของการทำงาน  มีดังต่อไปนี้
      ข้อมูล (Data) ข่าวสารต่างๆ สามารถถูกส่งแบบไร้สาย โดยเปลี่ยนจากสัญญาณวิทยุและสัญญาณโทรทัศน์เป็นเสียงและภาพ หรือเป็นข้อมูลด้านคอมพิวเตอร์ข่าวสารต่างๆ จะถูกส่งโดยผสมไปกับคลื่นวิทยุ ซึ่งคลื่นวิทยุเป็นแค่ส่วนหนึ่งในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงที่เรียกว่า ความถี่วิทยุ (Radio frequency) ข้อมูลทุกชนิดสามารถถูกส่งโดยการใช้ความถี่วิทยุ ความถี่วิทยุมีมากมายไม่ใช่มีแค่คลื่นวิทยุเอเอ็มหรือเอฟเอ็มที่เรารู้จักเท่านั้น
โมดูเลชัน (Modulation) ข้อมูลจะถูกส่งผสมไปคลื่นความถี่วิทยุโดยกระบวนที่เรียกว่า โมดูเลชัน เมื่อได้รับคลื่นสัญญานจะผ่านกระบวนการ ดีโมดูเลชัน (Demodulation) เพื่อแยกเอาข้อมูลออกมา
     สถานีฐาน (Base Station) ภายในแต่ละเซลล์จะมีสถานีฐานซึ่งจะส่งและรับสัญญาณสื่อสารทั้งรับและส่งไปยังโทรศัพท์มือถือ (หรือโทรศัพท์เซลลูล่าร์) ภายในเซลล์นั้นๆๆ
     เซลล์ (Cells) โทรศัพท์เซลลูลาร์ หรือโทรศัพท์แบบพกพาหรือโทรศัพท์มือถือที่เรารู้จัก มีแนวความคิดมาจากเซลล์นี่เอง ซึ่งเป็นการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนย่อยๆ เมื่อโทรศัพท์เซลล์ลูลาร์รับ-ส่งสัญญาณจะมีการติดต่อสื่อสารภายในเซลล์นั้นๆเองเท่านั้น ข่าวสารต่างๆๆ จะถูกส่งภายในเซลล์นั้นไปที่เป้าหมายภายในเซลล์เท่านั้น
     อุปกรณ์ส่งสัญญาณและอุปกรณ์รับสัญญาณ คลื่นความถี่วิทยุพร้อมด้วยข้อมูลข่าวสารจะถูกส่งโดยอุปกรณ์ส่งสัญญาณ (Transmitters) และรับโดยอุปกรณ์ที่เรียกว่าอุปกรณ์รับสัญญาณ (Receivers)
หลักการทำงาน
1.ข้อมูลหลายๆ ชนิดสามารถ ส่งแบบไร้สาย เช่น การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ เสียงโทรศัพท์ การส่งสัญญาณโทรทัศน์และวิทยุ ในขั้นตอนแรกข้อมูลที่ถูกส่งจะสร้างมาจากมาจากอุปกรณ์ที่สร้างข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์มือถือ สถานีวิทยุ หรือโทรศัพท์มือถือเป็นต้น
2.ข้อมูลที่ถูกส่งจะไปผสมกับคลื่นความถี่วิทยุ (RF) โดยกระบวนการโมดูเลชัน (Modulation) สัญญาณที่จะเป็นตัวส่งข้อมูลเรียกว่าคลื่นตัวนำ (Carrier Wave) ข้อมูลจะถูกผสมไปกับคลื่นตัวนำ โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่าโมดูเลเตอร์ (Modulator) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่มีวิธีการหลายวิธีในการโมดูเลตข้อมูลไปกับคลื่นตัวนำโมดูเลเตอร์อาจจะรวมอยู่กับอุปกรณ์ที่สร้างข้อมูลอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ มือถือ หรืออาจแยกอยู่ต่างหากเช่นโทรทัศน์
3.สัญญาณจะถูกส่งโดยอุปกรณ์ส่งสัญญาณที่จะนำสัญญาณมาและส่งออกไปโดยผ่านทางอากาศ อุปกรณ์สัญญาณนั้นมีหลายแบบโดยขึ้นอยู่กับชนิดข้อมูลที่จะส่งระยะทาง และความเร็วของสัญญาณ และขนาดนั้นอาจเล็กมากเหมือนที่อยู่ในโทรศัพท์มือถือหรืออาจจะใหญ่มากเหมือนเสาอากาศส่งสัญญาณของโทรทัศน์
4.อุปกรณ์รับสัญญาณสามารถรับสัญญาณได้โดยตรงหรืออาจผ่านทางระบบเครือข่ายโดยขึ้นอยู่กับชนิดข้อมูลที่ส่ง ในกรณีของโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์มือถือเมื่อจะติดต่อกับอินเทอร์เน็ตมันจะส่งสัญญาณไปที่เครือข่ายและส่งต่อไปยังผู้รับโดยใช้อุปกรณ์ส่งสัญญาณ (Transmitter)
5.ที่จุดรับสัญญาณ เสาอากาศหรือสายอากาศจะรับคลื่นวิทยุที่ต้องการและไม่รับคลื่นที่เหลือ อุปกรณ์รับสัญญาณจะใช้ แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของสัญญาณเนื่องจากสัญญาณที่รับมานั้นจะอ่อนมาก
6.โมดูเลเตอร์ จะทำการแปลสัญญาณและแยกคลื่นตัวนำออกจากข้อมูลถูกส่งมาพร้อมกัน เพื่อที่จะเปลี่ยนกลับไปเป็นข้อมูลดังเดิมที่สั่งมา
7.ข้อมูลที่ถูกส่งมายังอุปกรณ์รับสัญญาณ สามารถแสดงข้อมูลที่ส่งมาได้แล้ว
ข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีไร้สาย
ข้อดี
     -ช่วยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครือข่าย
     -ช่วยลดปัญหาในการวางสายระบบเครือข่าย
     -ไม่ต้องใช้สาย cable
     -ช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย
ข้อเสีย
     -มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความว่า ส่งสัญญาณได้ระยะสั้น
     -มีสัญญาณรบกวนสูง
     -ต้องแชร์กันใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน

     -ยังมีหลายมาตรฐานตามผู้ผลิตแต่ละราย ทำให้มีปัญหาในการใช้งานร่วมกัน

วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชือสมาชิกอุตสาหกรรม56

รายชือสมาชิกอุตหกรรม56
1.อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชด อ.ปาล์ม
2. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์   ซอล
3. นายอาหามะซุบฮี กะแน มะ
4. นายรุสดี วาลี   ซี
5. นายอับดุลเลาะ กาโฮง   เลาะ
6. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ   กุ้ง
7. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว  ปั๊ม
8. นาย วิโรจน์   เหมมาน   ลิฟ
9. นาย อาคม   เรืองกูล   แบงค์
10. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม   ทิว
11. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์   เอฟ
12. นายจตุพงค์ ณ สงขลา   พงค์
13.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม   บอย
14.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี   เอฟ
15. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์   ชาย
16. นายตวิษ เพ็งศรี   บ่าว
17. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์   วุฒิ
18. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด   เอ็กซ์
19. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง   โปร
20. นายนิรันดร์ เสมอพบ   แบ
21. นายปภังกร เอียดจุ้ย   กิ๊ฟ
22. นายปรินทร์ ผุดผ่อง   บอล
23. นายพิชชากร มีบัว   กร     
24. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู   พงศ์
25. นายภาคภูมิ จุลนวล  เจ
26. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
27. นายวสุ ราชสีห์   หนัง
28. นายวัชรินทร์ เขียนวารี  ปอนด์
29. นายวิฆเนศ ณ รังษี   หมู
30. นายวิโรจน์ เหมมาน   ลิฟ
31. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
32. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ   ทู 
33. นายสมศักดิ์ มากเอียด   กล้วย
34. นายสราวุฒิ เกบหมีน  ซอล
35. นายสานิต มิตสุวรรณ   ปอ
36. นายสุรเดช สม่าแห   ยา
37. นายสุรศักดิ์ สะเกษ   โจ้
38. นายเสะมาดี ดูแวดาแม เสะมาดี 
39. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ   โต๋
40. นายอภิเดช ทองอินทร์   โหนด
41. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ   ดุล
42. นายอับดุลรอมัน บูกา  รอมัน
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์  มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ   ฟาน
46. นายอิสมาแอ   มะยี 
47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล   นิว
48. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ   เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง   เพชร
50.นาย วงศธร อินทมะโน หลวงหมีด

รูปแบบการเชือต่อเครือข่ายแบบสมบูรณ์แบบดาว

1. แบบดาว (Star Network)   เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Host Computer) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลตามจุดต่างๆ แต่ละจุดเปรียบได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง
ในการต่อแบบนี้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสนอง
ที่รวดเร็วการส่งข้อมูลแต่ละสถานี (เครื่องคอมพิวเตอร์ย่อยๆ) ก็จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางก่อนแล้วตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางนี้จะเป็นผู้ส่งไป
ยังสถานีอื่นๆ การควบคุมการรับส่งภายในระบบทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์ กลางดังนั้นถ้าเครื่องศูนย์กลางมีปัญหาขัดข้องก็จะทำให้
ระบบทั้งระบบต้องหยุดชะงักทันที

ข้อดี
      1. เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง
      2. เนื่องจากการรับ – ส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางทั้งหมดจึงทำให้การรับ – ส่งข้อมูลทำได้ง่าย
      3. หากอุปกรณ์ชิ้นใดเสียหายก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ เพราะมีการใช้อุปกรณ์ที่แยกออกจากกัน
      4. การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งกันใช้สายสื่อสาร
      5. หากสถานีใดเกิดความเสียหายก็สามารถที่จะตรวจสอบได้ง่าย

ข้อเสีย
      1. เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก
      2. หากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขัดข้อง ก็จะทำให้ระบบใช้งานไม่ได้ทันที
      3. ขยายระบบได้ยากเพราะต้องทำจากศูนย์กลางออกมา
      4. เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง

วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นาย รชต อารี
ที่อยู่ 165 ม.2 ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลา 90150
เบอร์โทร 0843960748